เรียนครั้งที่ 5
บันทึกอนุทิน
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันศุกร์ ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
ความรู้ที่ได้รับวีนนี้
การนำเสนอของกลุ่มที่ ๑๐ พัฒนาการด้านสติปัญา
ลำดับขั้น
1 0-2 ปี เด็กจะลองใช้พฤติกรรม ลองผิดลองถูก
2 2-4 ปี เด็กจะเริ่มใช้ภาษาและความเข้าใจ
3 5 ปี เด็กจะไม่เข้าใจขนาด ไม่เข้าใจรูปทรง
องค์ประกอบ
ความสามารถในด้านความเข้าใจทางภาษา
ความสามารถในด้านตัวเลข
ความสามารถในด้านการใช้เหตผลเชิงแก้ปัญหา
ความสามารถในด้านการใช้เหตผลเชิงตรรก
ความสามารถในด้านความจำ
ความสามารถในด้านการใช้เหตผลเชิงสังเกต
ความสามารถในด้านทางมิติสัมพันธ์
โครงสร้างของสติปัญญา
การรับรู้
การจำ
วัยทารกเจริญขึ้นเรื่อยๆเติบโตขึ้นเรื่อยๆ
องค์ประกอบของภาษา
1. phonology
คือระบบเสียงของภาษา
เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย
หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา
2. semantic
คือความหมายของภาษาในคำศัพท์
คำศัพท์บางคำอาจมีได้หลายความหมาย
ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำศัพท์ต่างกัน
3. syntax
คือระบบไวยากรณ์
การเรียงรูปประโยค
4. pragmatic
คือระบบการนำไปใช้
ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเทศะ
แนวคิดนักการศึกษา
1. แนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฏีของ skinner
สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา
ให้ความสำคัญของสิ่งเร้าและการตอบสนอง
ทฤษฏีของ john B watson
ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
การงางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็กเป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้และผู้ใหญ่สามารถที่จะวางเงื่อนไขให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ทุกพฤคิกรรม
สรุป
นักพฤติกรรมนิยมเขื่อว่า
ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
การเรียนภาษาเป็นผลจากการปรับพฤติกรรมโดยวสิ่งแวดล้อม
เด้ฏเกิดมาดดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบตัว
เมื่อได้รับแรงเสริมจะทำให้เด็กเลียนแบบตัวแบบมากขึ้น
2. แนวคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา
piagat
เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการทางสติปัญญา
Vygotsky
เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษของเด็ก
เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
ผู้ใหญ่ควรชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
3. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย
Arnold Gesell
เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
เด็กบางตนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
เด็กบางตนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง
4. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าภาษา
Noam Chomsky
ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพการเรียนรู้ภาษามาตั้งเกิด เรียกว่า LAD Language Acquisition Devic
O Hobart Mowrer
ทฤษฏีความพึงพอใจ
แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
เป็นสิ่งที่สะท้อนปรั๙ญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
Richard and Roder 1995
แบ่งมุมมองออกเป็น 3 กลุ่ม
1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
นำองค์ประกอบย่อยของภาษา มาใช้ในการสื่อความหมาย
เสียง ไวยากรณ์ การประกอบคำเป็นวลีหรทอประโยค
2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
การจัดประสบการร์เน้นการสื่อความหมาย
ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในด้านความสัมพันธ์ทางสังคม
การแลกเปลื่ยนประสบการณ์
เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา
การนำไปใช้
สามารถนำความรู้ที่จากการเรียนในครั้งนี้ไปประยุกต์ในการสอนเด็กในอนาคต
ได้รู้ว่าพฤติกรรมทางภาษาของเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
ได้รู้ว่าการเลียนแบบของเด็กเกิดจาการสังเกตพฤติกรรม
ได้รู้ว่าการเรียนรู้ของเด็กแต่ละคนขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น